กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/891
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorสุภาวดี จิ๋วสุวรรณen_US
dc.contributor.authorโสภณ เพ็ชรพวงen_US
dc.contributor.authorญาณิศา บุญจิตร์en_US
dc.date.accessioned2021-11-15T09:08:35Z-
dc.date.available2021-11-15T09:08:35Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/891-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพการมีส่วนร่วม 2) พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วม และ 3) ตรวจสอบรูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็กอาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี การวิจัยมี 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสภาพการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน จานวน 60 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่น 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ขั้นตอนที่ 2 พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก ประเมินความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบรูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 60 คน ได้มาโดยการเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบ มีค่าความเชื่อมั่น 0.95 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า โดยรวมและรายด้าน อยู่ในระดับปานกลาง เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการร่วมกิจกรรม ด้านการร่วมตัดสินใจ ด้านการร่วมวางแผน ด้านการร่วมระดมทรัพยากร และด้านการร่วมประเมินผล 2) รูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก มี 4 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) หลักการ (2) วัตถุประสงค์ (3) กระบวนการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย (3.1) ร่วมวางแผน (3.2) ร่วมตัดสินใจ (3.3) ร่วมกิจกรรม (3.4) ร่วมระดมทรัพยากร (3.5) ร่วมประเมินผล และ (4) เงื่อนไขแห่งความสาเร็จ 3) ผลการตรวจสอบความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของรูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็ก พบว่า โดยรวมมีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในระดับมากen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองen_US
dc.subjectการดำเนินงานของโรงเรียนขนาดเล็กen_US
dc.subjectรูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของผู้ปกครองในการดาเนินงานของ โรงเรียนขนาดเล็ก อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeThe Development of Parental Involvement Model in Operation of Small Schools in Chaiya District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Education Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is edm supawadee64.pdf5 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น