กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/864
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorนโรดม แจ่มจรัสen_US
dc.contributor.authorพิมพ์แพร ศรีสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2021-06-21T02:09:00Z-
dc.date.available2021-06-21T02:09:00Z-
dc.date.issued2564-
dc.identifier.citationการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/864-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์การวิจัย 1) เพื่อศึกษาระดับปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดในการซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภคกรณีศึกษาอาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) ระดับกระบวนการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภค 3) ศึกษาปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภค และ 4) ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภคกรณีศึกษาอาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่าง จานวน 384 คน โดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.914 โดยใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ด้วยค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ด้วยการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่าระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและเมื่อจาแนกเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดซึ่งได้แก่ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย ด้านบุคลากร ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านกายภาพและการนาเสนอ และ ด้านกระบวนการ และ ระดับความคิดเห็นต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภค พบว่า ระดับความคิดเห็นต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุดและเมื่อจาแนกเป็นรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุดได้แก่ การตัดสินใจซื้อ การประเมินทางเลือก การหาข้อมูล การตระหนักถึงปัญหา และพฤติกรรมหลังการซื้อ การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์และการมีอิทธิพลของตัวแปรที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภค พบว่า มี 5 ด้านของปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีความสัมพันธ์เชิงบวกโดยตรงกับการตัดสินใจซื้ออะไหล่ของผู้บริโภค ณ ระดับนัยสาคัญที่ 0.01 ได้แก่ ด้านราคา (0.188) ด้านการส่งเสริมการตลาด (0.253) ด้านช่องทางการจัดจาหน่าย (0.990) ด้านบุคลากร (0.845) และด้านกายภาพและการนาเสนอ (0.725) ซึ่งปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภคกรณีศึกษาอาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี สามารถสร้างเป็นสมการเชิงเส้น Y =.296 +0.188 (X2) +0.253 (X3) +0.990 (X4) +0.845 (X5) +0.725 (X6) ซึ่งตัวแปรที่กล่าวไว้สามารถใช้การพยากรณ์อิทธิพลของตัวแปรที่มีผลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภคกรณีศึกษาอาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยรวมร้อยละ 77.30% ข้อเสนอแนะ ร้านขายอะไหล่ควรมีสินค้าให้เลือกหลากหลาย รายการ เพื่อให้ลูกค้าได้เปรียบเทียบ ทั้งในด้านคุณภาพและราคา และที่สาคัญต้องมีบริการหลังการขายเช่นการรับประกันสินค้าที่จาหน่าย ควรส่งเสริมทักษะความรู้ให้กับพนักงาน เช่นการให้คาแนะนา เทคนิคการขายของพนักงาน เพื่อให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ ควรมีการโฆษณาสินค้าเพื่อเป็นตัวช่วยประกอบการพิจารณาในการตัดสินใจผ่านสื่อต่างๆเช่น โทรทัศน์,Google,Webboard ,Pantip,Facebook เพื่อให้ลูกค้าได้รับรู้ข่าวสารต่างๆของร้านจาหน่ายอะไหล่ยนต์en_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัยen_US
dc.subjectส่วนประสมทางการตลาดen_US
dc.subjectกระบวนการตัดสินใจซื้อen_US
dc.subjectผู้บริโภคen_US
dc.titleส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้ออะไหล่รถยนต์ของผู้บริโภค กรณีศึกษาอาเภอพระแสง จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeThe Marketing Mix Factors Affecting Decision to Purchase Auto Parts of Consumers: A Case Study of Phrasaeng District, Surat Thani Provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Business Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is64_narodom-mba.pdf1.06 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น