กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/736
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.advisorอรุษ คงรุ่งโชคth_TH
dc.contributor.authorกนกวรรณ ลักษณะสมบูรณ์en_US
dc.date.accessioned2020-03-03T03:51:26Z-
dc.date.available2020-03-03T03:51:26Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/736-
dc.description.abstractเพื่อที่จะได้รับผลตอบแทนสูงสุดจากการตัดสินใจขายเศษยางพาราของเกษตรกรชาวสวน ยางพาราในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ดังนั้น การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และค้นหารูปแบบ การตัดสินใจในการขายเศษยางพาราของเกษตรกรชาวสวนยางพาราในจังหวัดสุราษฎร์ธานีโดยค้นหา เงื่อนไขการตัดสินใจขายเศษยางพาราและการวิเคราะห์ความคุ้มค่าทางการเงินเพื่อพิจารณา ผลตอบแทนสูงสุดที่จะได้รับ การวิจัยนี้ใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูลจากเกษตรกร ชาวสวนยางพาราจังหวัดสุราษฎร์ธานีจำนวน 400 ราย ตามที่ได้รับค่าความเชื่อถือได้จากการเก็บ รวบรวมข้อมูลจริงเท่ากับ 0.856 โดยสรุปผลการวิจัยอย่างเป็นระบบผ่านการใช้สถิติเชิงพรรณนา เพื่ออธิบายสภาพส่วนบุคคลและการสรุประดับความเห็นของเกษตรกรชาวสวนยางพารา ขณะที่ใช้ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันเพื่อการทดสอบสมมติฐานของการวิจัยและใช้เทคนิคการวิเคราะห์ ความถดถอยเชิงพหุคูณเพื่อค้นหาปัจจัยที่มีอิทธิพลในการวิจัยครั้งนี้en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectความคุ้มค่าen_US
dc.subjectการตัดสินใจen_US
dc.subjectเศษยางพาราen_US
dc.titleความคุ้มค่าจากการตัดสินใจขายเศษยางพาราของเกษตรกรในจังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeTHE WORTHWHILENESS FROM AGRICULTURIST’S DECISION-MAKING ON SELLING PARA RUBBER SCRAPS IN SURATTHANI PROVINCEen_US
dc.typeOtheren_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Business Administration: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
Fulltext-03-03-2563.pdf1.27 MBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น