กรุณาใช้ตัวระบุนี้เพื่ออ้างอิงหรือเชื่อมต่อรายการนี้: http://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1014
ระเบียนเมทาดาทาแบบเต็ม
ฟิลด์ DC ค่าภาษา
dc.contributor.authorกมลรัตน์ หวังรังสิมากุลen_US
dc.contributor.authorสิริสวัสช์ ทองก้านเหลืองen_US
dc.contributor.authorกฤษณี สงสวัสดิ์en_US
dc.date.accessioned2023-03-25T07:27:26Z-
dc.date.available2023-03-25T07:27:26Z-
dc.date.issued2566-03-24-
dc.identifier.citationบทความ, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอนen_US
dc.identifier.urihttp://ir.sru.ac.th/handle/123456789/1014-
dc.descriptionการค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) วิชาวิทยาศาสตร์เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนของนักเรียนที่ได้รับการจัดการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) และ 3) ศึกษาระดับความพึงใจของนักเรียนต่อกิจกรรมการเรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยใช้รูปแบบการวิจัยเชิงทดลองกลุ่มเดียวที่มีการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน กลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโพธิ์นิมิต ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 จำนวน 24 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) จำนวน 8 แผนเริ่มทดลองใช้ วันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2566 และสิ้นสุดวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2566 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 30 ข้อ มีค่าความยากง่าย 0.58-0.83 ค่าอำนาจจำแนก 0.20-0.61 และค่าความเชื่อมั่น 0.71 และแบบวัดความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อกิจกรรมการ เรียนการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) 10 ข้อ มีค่าอำนาจจำแนก 0.33-0.93 และมีค่าความเชื่อมั่น 0.93 รวมทั้งวิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ผลการวิจัยพบว่า 1) กิจกรรมการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต มีความเหมาะสมโดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.44 อยู่ในระดับมาก 2) นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย 11.71 สูงกว่าก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย 21.88 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 3) ความพึงพอใจของนักเรียนต่อการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) โดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.46 อยู่ในระดับมากen_US
dc.description.sponsorshipบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานีen_US
dc.subjectการสืบเสาะหาความรู้ (5E)en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์en_US
dc.subjectความพึงพอใจen_US
dc.titleการพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต ด้วยการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ (5E) เพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดโพธิ์นิมิต อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีen_US
dc.title.alternativeThe development of a science learning activity package on diversity of life by searching for knowledge (5E) to improve learning achievement for grade 4 students at wat pho nimit school, muang district, suratthani provinceen_US
dc.typeArticleen_US
ปรากฏในกลุ่มข้อมูล:Curriculum and Instruction: Independent Study (IS)

แฟ้มในรายการข้อมูลนี้:
แฟ้ม รายละเอียด ขนาดรูปแบบ 
is cur kamonrat66.pdfบทความ, การค้นคว้าอิสระครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน860.65 kBAdobe PDFดู/เปิด


รายการทั้งหมดในระบบคิดีได้รับการคุ้มครองลิขสิทธิ์ มีการสงวนสิทธิ์เว้นแต่ที่ระบุไว้เป็นอื่น